ชาเขียว
ไร่ชาเขียวชาเขียว ((「緑茶」, ryokucha, 緑茶?), จีน: 绿茶 - พินอิน: lǜchá), อังกฤษ: green tea) เป็นชาที่เก็บเกี่ยวจากพื ชในตระกูล Camellia sinensis (เช่นเดียวกับ ชาขาว ชาดำ และชาอู่หลงชาที่ไม่ผ่านการหมัก ซึ่งมีประโยชน์ต่อสุขภาพและมีคุ ณสมบัติในการต้านทานโรคได้ นานาชนิดจึงเป็นที่นิยมของคนส่ วนใหญ่ น้ำชาจะเป็นสีเขียวหรือเหลื องอมเขียว มีรสฝาดไม่มีกลิ่น แต่จะมีการแต่งกลิ่นเผื่อให้เกิ ดความน่ารับประทานมากขึ้น
ประวัติชาเขียว
ชามีต้นกำเนิดมาจากประเทศจีนกว่
ช่วงศตวรรษที่ 3
ชาเป็นยา เป็นเครื่องบำรุงกำลังที่ได้รั บความนิยมมากในช่วงศตวรรษที่ 3ชาวบ้านก็เริ่มหันมาปลูกชากั นและพัฒนาขั้นตอนการผลิตมาเรื่ อยๆ
ชาเป็นยา เป็นเครื่องบำรุงกำลังที่ได้รั
ช่วงศตวรรษที่ 4 และ 5
ชาในประเทศจีนได้รับความนิ ยมมากขึ้นและได้ผลิตชาในรู ปของการอัดเป็นแผ่นคือ การนำใบชามานึ่งก่อน แล้วก็นำมา กระแทก ในสมัยนี้ได้นำน้ำชาถึ งมาถวายเป็นของขวัญแด่พระจั กรพรรดิ
ชาในประเทศจีนได้รับความนิ
สมัยราชวงศ์ถัง (ค.ศ. 618 - 906)
ถือเป็นยุคทองของชา ชาไม่ได้ดื่ม เพื่อเป็นยาบำรุงกำลังอย่างเดี ยว แต่มีการดื่มเป็นประจำทุกวัน เป็นเครื่องมือเพื่อสุขภาพ
ถือเป็นยุคทองของชา ชาไม่ได้ดื่ม เพื่อเป็นยาบำรุงกำลังอย่างเดี
สมัยราชวงศ์ซ้อง (ค.ศ. 960 - 1279)
ชาได้เติมเครื่องเทศแบบใน สมัยราชวงศ์ถังแต่จะเพิ่มรสบางๆ เช่น น้ำมันจากดอกมะลิ ดอกบัว และดอกเบญจมาศ
ชาได้เติมเครื่องเทศแบบใน สมัยราชวงศ์ถังแต่จะเพิ่มรสบางๆ เช่น น้ำมันจากดอกมะลิ ดอกบัว และดอกเบญจมาศ
สมัยราชวงศ์หมิง (ค.ศ. 1368 - 1644)
ชาที่ปลูกในจีนทั้งหมดเป็นชาเขี ยว สมัยนั้นกระบวนการผลิตชาได้พั ฒนาขึ้นไปอีก ไม่อัดเป็นแผ่น แต่มี การรวบรวมใบชา นำมานึ่ง และอบแห้ง ซึ่งจะเก็บได้ไม่ดีนัก สูญเสียกลิ่นได้ ง่าย และรสชาติไม่ดี
ชาที่ปลูกในจีนทั้งหมดเป็นชาเขี
ในช่วงศตวรรษที่ 17 มีการค้าขายกับชาวยุโรป การผลิ ตเพื่อจะรักษาคุณภาพชาให้นานขึ้ น โดยได้คิดค้นกระบวนการที่ เราเรียกว่า การหมัก เมื่อหมักแล้วก็จะนำไปอบ ซึ่งก็เป็นที่มาของชาอูหลง และชาดำ ในประเทศจีน มีการแต่งกลิ่นด้วย โดยเฉพาะกลิ่นดอกไม้
ประวัติการปลูกชาในประเทศไทย
ในสมัยสุโขทัยช่วงมีการแลกเปลี่ ยนวัฒนธรรมกับจีน พบว่าได้มีการดื่ม ชากัน แต่ก็ไม่ปรากฏหลักฐานว่านำเข้ ามาได้อย่างไร และเมื่อใด แต่จากจดหมายของท่านลาลูแบร์ ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ได้กล่าวไว้ว่า คนไทยได้รู้จักการดื่มชาแล้ว โดยนิยมชงชาเพื่อรับแขกการดื่ มชา ของคนไทยสมัยนั้นดื่มแบบชาจี นไม่ใส่น้ำตาล สำหรับการปลูกชาในประเทศไทยนั้น แหล่งกำเนิดเดิมจะอยู่ ทางภาคเหนือ
ประเภทของชาเขียว มี 2 ประเภท
1.ชาเขียวแบบญี่ปุ่น ชาเขียวแบบญี่ปุ่นไม่ต้องคั่ วใบชา ชาเขียวมีสารอาหารพวกโปรตีน น้ำตาลเล็กน้อย และมีวิตามินอีสูง
2.ชาเขียวแบบจีน ชาเขียวแบบจีนจะมีการคั่วด้
วิตามินเอและวิตามินอีที่มีอยู่
ใบชาเขียวมีสารสำคัญ 2 ชนิด
กาเฟอีน(caffein)
ซึ่งมีอยู่ในชาเขียวประมาณร้ อยละ 2.5 โดยน้ำหนัก ซึ่งสารชนิดนี้เองที่ทำให้น้ ำชาสามารถกระตุ้น ให้สมองสดชื่น แจ่มใส หายง่วง เนื่องจากกาเฟอีนมีฤทธิ์กระตุ้ นประสาท เพิ่มการเผาผลาญ เพิ่มการทำงานของหัวใจและไต ผู้ป่วยโรคหัวใจก็ไม่ควรดื่มชา เนื่องจากกาเฟอีนมีคุณสมบัติ ในการกระตุ้นประสาทและบีบหัวใจ
ซึ่งมีอยู่ในชาเขียวประมาณร้
แทนนิน หรือ ฝาดชา (tea tannin)
พบในใบชาแห้งประมาณร้อยละ 20-30 โดยน้ำหนัก เป็นสารที่มีรสฝาดที่ใช้
วิธีเก็บรักษาใบชา
วิธีเก็บรักษาใบชา ควรเก็บในที่แห้ง ณ อุณหภูมิห้อง ในภาชนะที่ปิด สนิท และปฏิบัติตามคำแนะนำ ดังนี้
1.บรรจุซองฟอยด์ ให้รีดลมออกให้หมด เพื่อมิให้กลิ่นกระจายหาย และ คงให้ใบชาสดใหม่อยู่เสมอ
2.บรรจุภาชนะอื่น ภาชนะนั้นต้องทึบแสง เช่น กระป๋องไม้ หรือกระป๋อง อะลูมิเนียม หลีกเลี่ยงการเก็บใบชาไว้ ในภาชนะที่แสงสามารถลอดผ่านได้ เนื่องจากมีผลเสียต่อใบชา
3.ภาชนะนั้นๆต้องปราศจากกลิ่ นแปลกปลอมใดๆ เนื่องจากใบชามีคุณ สมบัติดูดกลิ่นอย่างดี ดังนั้นควรทำความสะอาดภาชนะนั้ นด้วยน้ำสะอาด หลายๆครั้ง จนแน่ใจว่าสะอาดที่สุดแล้ว
4.ไม่ควรวางไว้ใกล้สถานที่ที่มี กลิ่นความรุนแรง หรือกลิ่นแปลกปลอม ต่างๆ
2.บรรจุภาชนะอื่น ภาชนะนั้นต้องทึบแสง เช่น กระป๋องไม้ หรือกระป๋อง อะลูมิเนียม หลีกเลี่ยงการเก็บใบชาไว้
3.ภาชนะนั้นๆต้องปราศจากกลิ่
4.ไม่ควรวางไว้ใกล้สถานที่ที่มี
วิธีการชงชา
1.ใส่ใบชาในกาชาประมาณ 1/6 -1/4
2.รินน้ำเดือดลงในกาชาครึ่งหนึ่ ง เททิ้งทันที (ไม่ควรเกิน 5 วินาที) เพื่อล้าง และอุ่นใบชาให้ตื่นตัว
3.รินน้ำเดือดลงในกาชาจนเต็ม ปิดฝากา ทิ้งไว้ประมาณ 45 - 60 วินาที
4.รินน้ำชาลงในแก้วดื่ม (การรินแต่ละครั้ง ต้องรินน้ำให้หมดกา มิฉะนั้น จะทำให้น้ำชาที่เหลือมีรสขม ฝาดมากขึ้น เสียรสชาติ) ใบชาสามารถชงได้ 4 - 6 ครั้ง หรือจนกว่ากลิ่นชาจะหายหอมไป และในการชงแต่ละครั้ง ให้เพิ่มเวลาครั้งละ 10 - 15 วินาที
2.รินน้ำเดือดลงในกาชาครึ่งหนึ่
3.รินน้ำเดือดลงในกาชาจนเต็ม ปิดฝากา ทิ้งไว้ประมาณ 45 - 60 วินาที
4.รินน้ำชาลงในแก้วดื่ม (การรินแต่ละครั้ง ต้องรินน้ำให้หมดกา มิฉะนั้น จะทำให้น้ำชาที่เหลือมีรสขม ฝาดมากขึ้น เสียรสชาติ) ใบชาสามารถชงได้ 4 - 6 ครั้ง หรือจนกว่ากลิ่นชาจะหายหอมไป และในการชงแต่ละครั้ง ให้เพิ่มเวลาครั้งละ 10 - 15 วินาที
การชงชาให้ได้รสชาติดี มีข้อสำคัญ 4 ประการ คือ....
1.ปริมาณใบชา จะใช้ใบชาเท่าไหร่นั้น ขึ้นอยู่กับลักษณะของใบชา เช่น ชายที่มีรูปกลมแน่น กลมกลวม หรือเป็นเส้น ถ้าใช้ใบชาที่มีลักษณะกลม แน่น จะใช้ชาประมาณ 25 % ของกาชา ใบชาเมื่อแช่อยู่ในน้ำร้อน จะเริ่ม คลี่ตัวออกทีละน้อย จนเป็นใบชัดเจน ถ้าใส่มากเกินไป จะทำให้การคลาย ตัวไม่สะดวก ซึ่งรสชาติที่ชงออกมาจะไม่ได้ ตามมาตรฐานของชานั้นๆ และ การเสียของใบชา เมื่อคลายตัวออกมาเต็มที่ ควรจะมีปริมาณประมาณ 90% ของกาชา
2.อุณหภูมิน้ำ น้ำที่ชงชาไม่จำเป็นต้องใช้น้
3.เวลา การใช้เวลานานหรือไม่นานนั้น จะบอกได้ว่า น้ำชาจะอ่อนหรือ แก่ โดยปกติประเภทกลมแน่น จะใช้เวลาใรครั้งแรกประมาณ 40 - 60 วินาที ครั้งต่อๆไป เพิ่มอีกครั้งละ 10 - 15 วินาที/ครั้ง
4.กาชา กาที่ใช้ควรเป็นกาที่ทำจากดิ
สรรพคุณของชาเขียว
ชาเขียว เป็นเครื่องดื่มซึ่งมีประโยชน์ ต่อร่างกายหลายด้าน รวมถึงสามารถป้องกันมะเร็งผิ วหนังได้ด้วย จากงานวิจัยพบว่า ดื่มชาเขียวทุกวันวันละประมาณ 4 แก้ว หรือมากกว่านั้น ช่วยป้องกันมะเร็งผิวหนังได้ เพราะในชาเขียวมีสารแอนติออกซิ แดนท์ โพลีฟีนอล ซึ่งมีฤทธิ์ต้านมะเร็ง สรรพคุณของชาเขียวอีกประการหนึ่ ง คือช่วยลดน้ำหนัก
จากการวิจัยยังพบอีกว่ าสารคาเฟอีนและสารฝาดแคททิคิน ในชาเขียวทำให้เมตาบอลิซึมในร่ างกายดีขึ้น เผาผลาญพลังงานได้มาก เป็นผลทำให้น้ำหนักตัวลดลง โดยท ี่ไม่มีผลกระทบต่ออัตราการเต้ นของหัวใจชาเขียวทำมาจากใบชาชนิ ดเดียวกับที่ใช้ทำชาดำ แต่การทำชาดำจะต้องผ่านการหมัก ส่วนชาเขียวทำจากใบชาตากแห้งเท่ านั้น
ชาเขียวกับประสิทธิภาพในการรั กษาโรคมีทั้งหมด15 วิธี
2.การใช้ชาเขียวกับส่วนหัวของต้
3.การใช้ชาเขียวร่วมกับขิงสด ช่วยรักษาอาการอาหารเป็นพิ
4.การใช้ชาเขียวร่วมกับตะไคร้
5.การใช้ชาเขียวร่วมกับคึ่นฉ่
6.การใช้ชาเขียวร่วมกับไส้หมาก ลดน้ำตาลในเส้นเลือด
7.การใช้ชาเขียวร่วมกับดอกเก๊
8.การใช้ชาเขียวร่วมกับลูกเดือย จะลดอาการบวมน้ำ ตกขาว และมดลูกอักเสบ
9.การใช้ชาเขียวร่วมกับเม็ดเก๋
10.การใช้ชาเขียวร่วมกั
11.การใช้ชาเขียวร่วมกับเนื้
12.การใช้ชาเขียวร่วมกับบ๊วยเค็
13.การใช้ชาเขียวร่วมกับหนวดข้
14.การใช้ชาเขียวร่วมกับน้
15.การใช้ชาเขียวร่วมกับเม็ดบัว จะช่วยบรรเทาอาการฝันเปียก และยับยั้งการหลั่งเร็ว
ข้อดีของชาเขียว
ต้านโรคไขข้ออักเสบ กล่าวกันว่าชาเขียวช่วยป้องกั นโรคข้ออักเสบรูห์มาติก (rheumatoid arthritis) ที่มักจะเกิดกับสตรีวัยกลางคน อาการของโรคโดยทั่วไปคือมี อาการของการอักเสบบวมแดง ปวดเมื่อยตามกล้ามเนื้อและข้อต่ อ
ลดระดับคอเลสเทอรอล สารแคเทชินในชาเขียว ช่วยทำลายคอเลสเทอรอล และกำจัดปริ มาณของคอเรสเทอรอลในลำไส้ แค่นั้นยังไม่พอ ชาเขียวยังช่วยควบคุมน้ ำตาลในเลือดให้อยู่ในระดับที่ พอดีอีกด้วย
ควบคุมน้ำหนัก ถ้าคุณกำลังพยายามลดน้ำหนักอยู่ การจิบชาเขียวสามารถช่วยได้ดีที เดียว จากการศึกษาโดยมหาวิทยาลัยเจนี วา สวิตเซอร์แลนด์พบว่า ชาเขียวช่วยเร่งให้ร่างกายมี การเผาผลาญอาหารและไขมันมากขึ้น
กลิ่นปากและแบคทีเรีย ป้องกันฟันผุ การดื่มชาเขียวนอกจากจะทำให้ร่ างกายอบอุ่นแล้ว ยังช่วยทำให้ลมหายใจสดชื่นและป้ องกันการติดเชื้อได้ด้วย อันที่จริงแล้วพบว่าชาเขียวเป็ นตัวช่วยยาสีฟันและน้ำยาบ้วนปาก ต่อสู้กับเชื้อไวรั สในปากโดยกำจัดเชื้อแบคทีเรีย ผลการทดลองชี้ว่ายาสีฟันหรือน้ ำยาบ้วนปากอย่างเดียวนั้น ไม่มีประสิทธิภาพเพียงพอในการต่ อสู้กับเชื้อไวรัส ผลการศึกษาสรุปว่า สารพอลิฟีนอลส์ในชาเขียวช่วยยั บยั้งการเจริญเติบโตของแบคทีเรี ยถึง 30% และลดการผลิตของสารประกอบที่เป็ นสาเหตุทำให้ลมหายใจเหม็นบูด นอกจากนี้ชาเขียวมีสรรพคุณช่ วยป้องกันฟันผุ โดยช่วยยับยั้งแบคทีเรียที่ชื่อ Streptococcus mutans ซึ่งเป็นตัวการสำคัญที่ก่อให้ เกิดหินปูนที่มาเกาะฟัน คนส่วนใหญ่จะดื่มชาเขียวหลั งอาหาร เพื่อช่วยให้ลมหายใจและกลิ่ นปากสะอาดสดชื่น
ป้องกันเชื้อไวรัสเอชไอวี ข้อมูลในวารสารวิทยาภูมิคุ้มกั นทางการแพทย์ และโรคภูมิแพ้ฉบับประจำเดื อนพฤศจิกายนตีพิมพ์ไว้ว่า สารแคเทชินในชาเขี ยวโดยเฉพาะพระเอกตัวเก่ง EGCG มีสรรพคุณป้องกันการติดเชื้ อเอชไอวี ผลการทดลองแสดงให้เห็นว่า ชาเขียวเข้มข้นช่วยป้องกันไม่ ให้เชื้อไวรัสเอชไอวี จับตัวกับเซลล์เม็ดเลือดขาว ชนิดที่มีความสำคัญต่อภูมิคุ้ มกันในร่างกายของคนเราที่เรี ยกว่า "ทีเซลล์" (T cells) ซึ่งเป็นด่านแรกที่ทำให้มี โอกาสติดเชื้อเอชไอวีได้ ถ้ามีผลการศึกษาเพิ่มเติมยืนยั นผลการวิจัยดังกล่าวนี้ นักวิจัยกล่าวว่าจะนำสารในชาเขี ยวมาใช้ทดลองในการผลิตยาชนิ ดใหม่ เพื่อป้องกันการลุกลามของเชื้ อเอชไอวี
ที่มา yenta4